วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

Technology for Visual Communication News


The Independent– Google has celebrated the 129th birthday of Freudian psychiatrist Hermann Rorschach with a doodle showing his famous inkblot test.The black and white doodle features a cartoon version of the renowned psychoanalyst sitting with a notepad and pen, while disembodied hands hold a piece of paper containing a simple inkblot in front of the screen.Users are then encouraged to share their interpretation of the inkblot on Google Plus, Facebook or Twitter.Hermann Rorschach was born on 8 November 1884 in Zurich, Switzerland. As a child he was known as “Klecks”, thanks to his love of klecksography – the art of turning inkblots into recognisable images. This childhood hobby was something that would later shape his career as a psychiatrist.

At high school, Rorschach wrote a letter to the renowned German biologist Ernst Haeckel requesting his help in deciding between a career in art or science. Haeckel suggested science and Rorschach immediately enrolled in medical school at the University of Zurich.After graduation he studied under the eminent psychiatrist Eugen Bleuler, who had previously taught Carl Jung. Rorschach found the buzz surrounding the psychoanalyst movement – led by the likes of Sigmund Freud – reminded him of the excitement his classmates once found in their inkblot paintings.This memory caused Rorschach to wonder why some people have completely different responses to the same inkblots paintings, so he started showing the artworks to children in order to analyse their wildly varying responses.After years of conducting these tests while working as an assistant director at the regional psychiatric hospital in Herisau, Rorschach wrote Psychodiagnostik – a book describing how inkblot tests can be effectively used in psychoanalysis.Rorschach died less than a year after writing the ground-breaking work, killed by peritonitis brought on by a ruptured appendix. He was 37.



กูเกิ้ลฉลองวันเกิดปีที่129ของจิตแพทย์ตามหลักของฟรอยด์ “เฮอร์แมน รอราชค์” (Hermann Rorschach) ด้วยรูปวาดพร้อมแสดงภาพการทดสอบภาพน้ำหมึกหยด (Inkblot Test). รูปภาพขาวดำ กับรูปวาดที่มีรูปการ์ตูนของนักจิตวิเคราะห์ชื่อดังนั่งอยู่กับสมุดโน๊ตและปากกา พร้อมมือถือกระดาษภาพการทดสอบภาพน้ำหมึกหยดอย่างง่ายลอยออกมาบนหน้าจอ. ทางกูเกิ้ลแนะนำผู้ใช้งานแบ่งปันความหมายของภาพน้ำหมึกหยดบนกูเกิ้ลพลัส เฟสบุค หรือทวิตเตอร์. เฮอร์แมน รอราชค์ เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ปีค.ศ.1884 ที่เมืองซูริค ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ในวัยเด็กคนรู้จักเขาในนาม “เคล็กซ์” ที่มาของชื่อนี้ต้องขอบคุณความรักใน เคล็กโซกราฟี – ศาสตร์การหยดน้ำหมึกให้กลายเป็นภาพที่มีความหมาย งานอดิเรกในวัยเด็กของเขาเป็นสิ่งที่จะหล่อหลอมอาชีพจิตแพทย์ของเขาในเวลาต่อมา.
ในชีวิตช่วงมัธยมปลาย รอราชค์ได้เขียนจดหมายถึงนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน เอิร์น แฮคเคิลเพื่อขอให้เขาช่วยตัดสินใจเกี่ยวกับการเลือกทำสายงานทางด้านศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ แฮคเคิลแนะนำให้ทำงานด้านวิทยาศาสตร์แล้วโรราชค์ก็ได้สมัครเข้าเรียนในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยซูริคโดยทันที. หลังจากที่จบการจากศึกษาคณะแพทยศาสตร์แล้ว เขาได้ไปศึกษาต่อกับจิตแพทย์ชื่อดัง ยูจีน เบลอเลอร์ผู้เคยเป็นอาจารย์ให้กับคาร์ล จอง รอราชค์ได้ยินข่าวเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของนักจิตวิเคราะห์ นำโดยผู้ชื่นชอบ ซิกมันด์ ฟรอยด์ ทำให้เขาระลึกถึงความตื่นเต้นที่เพื่อนร่วมชั้นของเขาได้รับเมื่อได้ดูภาพภาพน้ำหมึกหยดของพวกเขา. ความทรงจำเหล่านี้เป็นเหตุให้รอราชค์เกิดความสงสัยว่าทำไมคนบางคนมีปฏิกิริยาที่แตกต่างกันออกไปเมื่อได้ดูรูปภาพน้ำหมึกหยดรูปเดียวกัน เขาจึงได้เริ่มแสดงรูปศิลปะเหล่านี้ให้แก่เด็กเพื่อวิเคราะห์ปฏิกิริยาที่แตกต่างกันหลากหลายรูปแบบ. หลายปีหลังจากทำการทดลองเหล่านี้ควบคู่ไปกับการทำงานประจำในตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการที่โรงพยาบาลโรคประสาทประจำภูมิภาคในเฮริโซประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โรราชค์ได้เขียนหนังสือชื่อ ไซโคไดแอกโนสติค ซึ่งเป็นหนังสือที่อธิบายเกี่ยวกับการทำงานของภาพน้ำหมึกหยดว่าสามารถใช้ได้ผลในการวิเคาระห์จิตอย่างไรบ้าง.
รอราชค์เสียชีวิตจากอาการเยื่อบุช่องท้องอักเสบซึ่งมาจากอาการไส้ติ่งอักเสบ ในช่วงไม่ถึงปีนับจากที่ได้เขียนงานซึ่งถือว่าเป็นงานที่ริเริ่มแนวคิดในลักษณะนี้ ในขณะนั้นเขามีอายุ 37ปี.

ผลงาน
ทคนิคหยดหมึก  ทำโดยให้บุคคลดูภาพหยดหมึกที่หยดบนกระดาษที่พับครึ่งแล้ว คลายออก จะได้หยดหมึกบนกระดาษที่คล้ายกันทั้งสองข้าง เป็นภาพหมึกเลอะๆๆ มีหลายนัย  เห็นเป็นภาพอะไรก้อได้ขึ้นกับว่าจะคิดเชื่อมโยงกับอะไรในใจของผู้ถูกทดสอบ